วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เรื่องที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมไทย

เรื่องที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมไทย
1x42.gif

ศิลปกรรมไทย เป็นภูมิปัญญาที่มีความละเอียด ประณีตและอ่อนช้อยงดงามอย่างยิ่ง เพราะถูกสร้างสรรค์ขึ้นจากจิตใจและลักษณะนิสัยอันอ่อนช้อยงดงามของคนไทย ภายใต้ความงามของงานศิลปะไทย จึงสอดแทรกไว้ซึ่งความงามทั้งด้านฝีมือและจิตใจผู้สร้างอย่างลงตัว
เยาวชนในฐานะของผู้ที่จะเติบโตไปเป็นอนาคตของชาติ จึงมีหน้าที่สำคัญในการปกป้อง รักษา อนุรักษ์ และถ่ายทอดศิลปกรรมไทยอันทรงคุณค่า ให้คงอยู่คู่สังคมไทยและสังคมโลกสืบไป

  1. ปรเภทของศิลปวัฒนธรรมไทย งานศิลปกรรมไทย ส่วนใหญ่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นตามความศรัทธาในพระพุทธศาสนา และความงามของธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
    1. จิตรกรรม
    2. วรรณกรรม
    3. ประติมากรรม
    4. สถาปัตยกรรม
    5. นาฎดุริยางคศิลป์
  2. ตัวอย่างงาน ศิลปกรรมไทย
    1. จิตกรรม
      1. จิตรกรรมเรื่องเวชสันดรชาดก วัดบวกครกหลวง จ.เชียงใหม่
      2. จิตรกรรมเรื่องรามเกียรติ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จ.กรุงเทพฯ
      3. จิตกรรมเรื่องเวสสันดรชาดก วัดพุทธสีมา จ.ร้อยเอ็ด
      4. จิตกรรมคนรำโนราห์ วัดมัชฌิมวาส จ.สงขลา
    2. ปฎิมากรรม
      1. พระพุทธสิหิงค์ ศิลปเชียงแสน
      2. พระศรีศากยทศพลญาณ ศิลปรัตนโกสินทร์
      3. พระใส ศิลปลานช้าง
      4. พระพุทธทักษิณมิ่งมงคล ศิลปะสกุลช่างนครศรีธรรมราช
    3. สถาปัตยกรรม
      1. วัดพระธาตุลำปางหลวง จ.ลำปาง
      2. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม  กรุงเทพฯ
      3. วัดพระธาตุพนม จ.นครพนม
      4. วัดมหาธาตุฯ จ.นครศรีธรรมราช
    4. นาฎดุริยางคศิลป์
      1. ฟ้อนเล็บ ภาคเหนือ
      2. โขน ภาคกลาง
      3. เซิ้งโปงลาง ภาคตะวันนออกเฉียงเหนือ
      4. รำโนราห์ ภาคใต้
    5. วรรณกรรม
      1. ชินกาล มาลีปกรณ์ ภาคเหนือ
      2. พระอภันมณี ภาคกลาง
      3. ท้าวก่ำกาดำ ภาคตะวันนออกเฉียงเหนือ
      4. กายนคร  ภาคใต้
  3. แนวทางการอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย
    1. รวบรวมข้อมูลศิลปวัฒนธรรมประเภทต่างๆ ทั้งจากคนในท้องถิ่น และเอกสารที่ได้มีการบันทึกไว้ เพื่อนำมาศึกษาให้เข้าใจถึงแก่นแท้ เอกลักษณ์ และคุณประโยชน์ของศิลปวัฒนธรรมนั้นๆ
    2. สร้างศูนย์กลางในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ด้วนระบบเครือข่ายสารสนเทศ เช่นการสร้างเว็บไซต์เกี่ยวกับศิลปวัฒธรรมไทย เป็นต้น
    3. ให้การสนับสนุนและยกย่องผู้สร้างสรรค์ และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย เช่นศิลปินแห่งชาติ สาขาต่างๆ เป็นต้น
    4. รณรงค์เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกและความรับผิดชอบในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้สมาชิกในสังคม ด้วยการให้ความรู้ และจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้าร่วมได้
    5. ดูแลรักษาศิลปกรรมไทย ทั้งจิตรกรรม ปติมากรรม และสถาปัตยกรรม ให้คงอยู้ในสภาพสมบูรณ์ ไม่ไปทำลย หรือหากพบเห็นผู้ทำลาย ควรแจ้งให้หน่วยงาที่รับผิดชอบทราบ
    6. ส่งเสริมและแลลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศ และระหว่างประเทศ โดยการใช้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน
    7. เข้าร่วม แนะนำ และเชิญชวนให้ผู้อื่นเข้าร่วมงานหรือกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับศฺิลปวัฒนธรรม เช่น งานสัปดาห์วันอนุรักษ์มรดกไทย

1x42.gif

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ยุคการศึกษา 4.0

......การศึกษาทักษะการเรียนรู้ การสร้างการใช้นวัตกรรมเครืข่ายสังคมอนไลน์ สำหรับผู้เรียนสำหรับการจัดการความรู้ ที่สามารถแบ่งปันความคิด ความเป็นเลิศทางวิชาการ รูปภาพและอื่นๆ อีกมากมายสำหรับนวัตกรรมนี้ ทำให้การทำงานสะวกรวดเร็ว สวยงาม เหมาะสำหรับนัเรียนและครูผู้สอน ใช้เป็นเว็บการจัการความรู้และใช้เป็นเครื่องมือ ารเรียนรู้สังคมอนไลน์ เพื่อจัดการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพระสิทธิผล ในยุคการศึกษา 4.0 (การเรียนรู้ศตวรรษที่ 21)

เว็บบล๊อคประกอบการเรียนวิชาหน้าที่พลเมือง ระบบการเรียน การจัดการความรู้ KM (Knowlead Maneagement) เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียน Worl Class Standrad ประกอบด้วย 4 ทักษะพื้นฐาน คือ

  • (1) ทักษะภาษาดิจิทัล
  • (2) ทักษะคิดประดิษฐ์สร้าง
  • (3) ทักษะสื่อสารมีประสิทธิภาพ
  • (4) ทักษะสื่อสารมีประสิทธิผล

พัฒนาสู่ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ขั้นต้น 6 ประการ

  • (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills
  • (2) ทักษะการคิด Thinking Skills
  • (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills
  • (4) ทักษะชีวิต Life Skills
  • (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills
  • (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skill


........การจัดการเรียนการสอนจึงต้องเปลี่ยนไปจากเดิม ครูใช้วิธีการสอนแบบเดิม แบบเล็กเชอร์ไม่ได้ผล กระบวนการต้องจัดให้ลงมือทำ และเรียนรู้แบบย้อนทาง ต้องให้แอกตีฟ และเรียนตามความสนใจให้มากขึ้น

........เป้าหมายของการเรียนรู้มิใช่ ”ตัวความรู้” อีกต่อไป เพราะตัวความรู้นั้นมีมายมายมหาศาล เกินกว่าที่จะสอนให้นักเรียนแต่ละชั้นปีได้ .

........นักเรียนในยุคใหม่มีหนทางค้นหาความรู้ด้วยตนเอง (จากก้อนเมฆ) เป้าหมายของการเรียนรู้อยู่ที่“ทักษะการเรียนรู้” และ "วิธีการจัดการกับความรู้ "

.......หากผู้เรียนมีทักษะพื้นฐาน และทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ ตามที่กำหนด ก็จะทำให้เกิดระบบและกระบวนการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาต่างๆ เป็นไปด้วยประสิทธิภาพประสิทธิผล ตรงเจตนารมณ์ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาชาติ "ผู้เรียนเป็นคนดี ผู้เรียนเป็นคนเก่ง ผู้เรียนมีความสุข"

.........เว็บนี้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ วิชา หน้าที่พลเมือง (สาระเพิ่ม) ชั้น ม.1


................................

ผู้จัทำ


ครูชาญวิทย์ ปรีชาาณิชพัฒนา

(ครูผู้สอน)

Blogger Educational

Blogger Educational
Glitter Photos